หน้าเว็บ

วันพุธที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2556

การเรียนการสอนภาคฤดูร้อน 3/2555 สัปดาห์ที่ 4 วันที่ 10 และ 11 เมษายน 2556

การเรียนการสอนภาคฤดูร้อน 3/2555 สัปดาห์ที่ 4 วันที่ 10 เมษายน 2556
ขั้นตอนการสร้างโครงร่างแบบวิจัยข้อเสนอวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยและแบบ ว-1ด
ดาวโหลดน์ไฟล์ของหน่วยงาน มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ที่สำนัก-สถาบันวิจัยและพัฒนา
แล้วเข้าไปที่แบบฟอร์มการวิจัยจากนั้นเลือกดาวโหลดไฟล์ แล้วเลือกที่ รายได้นักศึกษา นักศึกษาสามารถดาวน์โหลดได้ที่
http://web.chandra.ac.th/research/modules.php?name=News&file=article&sid=2 เมื่อทำการโหลดเรียบร้อย เริ่มลงมือกรอกข้อมูลของผู้เสนอการทำวิจัย ลง โปรแกรมMicrosoft Word ( ตัวหนังสือให้ใช้TH Sarabun ที่อาจารย์ส่งลิ้งค์มาให้ ) ขนาดหัวข้อ 18 ข้อความ16
ที่มาของภาพ : พลกฤษณ์ แสงเมือง, 2556.

เมื่อผู้วิจัยดำเนินการขั้นตอนแรกเสร็จแล้ว ก็ให้เข้าไปที่ GMAIL ของผู้วิจัย จากนั้นเข้าไปเลือกที่ไฟล์ของเราเปิดกล่องข้อมูลก็จะเห็นอาจารย์ส่งไฟล์ลิ้งมาให้ดั่งภาพ ที่อยู่ของไซค์ที่เราต้องนำงานไปส่ง https://sites.google.com/site/chandrastudentresearcher/researcherproject/studen-researchers-proposal
ที่มาของภาพ : พลกฤษณ์ แสงเมือง, 2556.

เมื่อผู้วิจัยเปิดไฟล์เข้าไปก็จะเจอกับหน้าต่างของไซค์นี้ จากนั้นเราก็เข้าไปในไฟล์ที่ว่า student researchers proposal เมื่อเข้ามาแล้ว เราจะต้องเลื่อนไปยังด้านล่างสุดของเพจ และไปคลิ๊กที่ ลงชื่อเข้าใช้ ก่อนจึงจะสามารถส่งไฟล์งานชิ้นนี้ลงได้ดังรูป เมื่อผู้วิจัยอัพไฟล์งานลงไปในไซค์นี้แล้ว ก็จะต้องนำมาอัพลงในไดรฟ์ของเราด้วย
ที่มาของภาพ : พลกฤษณ์ แสงเมือง, 2556.

หมายเลข 1. ชื่อหน้าเว็บเพจที่นักศึกษาต้องส่งงาน
หมายเลข 2. ตำแหน่งไอคอนสำหรับดาวน์โหลดไฟล์งานที่จะต้องส่ง

วันอังคารที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2556

Google Site และเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยและโครงการวิจัยศิลปนิพนธ์

เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยและโครงการวิจัยศิลปนิพนธ์
จากการเรียนการสอนของอาจารย์ในสัปดาห์ที่แล้ว ซึ่งอาจารย์ได้แนะนำและอธิบายเกี่ยวกับวิธีการเขียนและหลักต่างๆในการเขียนงานวิจัยและโครงการวิจัยศิลปนิพนธ์อย่างถูกต้องแล้วนั้น อาจารย์ได้สั่งงานให้นักศึกษาทุกคนไปสมัครใช้งาน Google Site ซึ่งเป็นโปรแกรมเสริมที่สามารถเชื่อมโยงจากระบบและเครือข่ายของ Google เพื่อให้ใช้ประโยชน์จากโปรแกรมในการเขียน ศึกษา และบันทึกการเขียนงานวิจัยและโครงการวิจัยศิลปนิพนธ์ของนักศึกษาเอง โดยอาจารย์ให้นักศึกษาสมัครและใช้งาน Google Site ในชื่อของนักศึกษาเองแล้วตามด้วย artthesis โดยที่นักศึกษาสามารถใช้งานเทมเพลตของอาจารย์ที่อาจารย์ได้สร้างไว้แล้วได้เลยที่ https://sites.google.com/site/artthesis/ 
ที่มาของภาพ : https://sites.google.com/site/artthesis/
-1.เทมเพลตที่อาจารย์ได้สร้างไว้แล้ว สามารถใช้งานได้เลย
-2.ชื่อเจ้าของไซต์ ซึ่งจะอยู่ในไซต์บาร์และเราสามารถเปลี่ยนตำแหน่งได้
-3.ชื่อหน้าหลัก (Home) ซึ่งสามารถปรับแต่งได้หลังจากสมัครใช้ไซต์เรียบร้อยแล้ว

และยังมีอีกหนึ่งเว็บไซต์ที่อาจารย์ได้แชร์ที่อยู่เว็บไซต์ไว้ให้  เพื่อใช้เป็นกรณีศึกษาในการศึกษาและเรียนรู้รายละเอียดหลักการเขียนงานวิจัยและโครงการวิจัยศิลปนิพนธ์  ซึ่งจะทำให้ศึกษาสามารถเขียนงานวิจัยและโครงการวิจัยศิลปนิพนพ์ได้อย่างถูกต้องมากขึ้น  จากตัวอย่างงานวิจัยและไฟล์ต่างๆซึ่งสามารถดูและดาวน์โหลดได้ที่ https://sites.google.com/site/chandraresearchers/
ที่มาของภาพ : https://sites.google.com/site/chandraresearchers/

เว็บไซต์เผยแพร่งานส่วนตัวโดย Google Site
หลังจากที่ได้เข้าไปศึกษาและดูรายละเอียดจากเว็บไซต์ทั้งสองที่อาจารย์ได้แนะนำและแชร์ไว้ให้แล้วนั้น ข้าพเจ้าได้เข้าสมัครใช้งาน Google Site และปรับแต่งเว็บไซต์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยสามารถเข้าไปรับชมและแบ่งปันความรู้ได้ที่ https://sites.google.com/site/polkritsangmuangartthesis/Home
ที่มาของภาพ : พลกฤษณ์ แสงเมือง, 2556.
1.ที่อยู่ของ URL ของเว็บไซต์นี้
2.ชื่อและรายละเอียดส่วนตัวของเจ้าของไซต์


วันศุกร์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2556

การเรียนการสอนภาคฤดูร้อน 3/2555 สัปดาห์ที่ 3 วันที่ 3 และ 4 เมษายน 2556

การเรียนการสอนภาคฤดูร้อน 3/2555 สัปดาห์ที่ 3 วันที่ 4 เมษายน 2556
เรียนรู้การใช้งาน Google Calendar อย่างถูกวิธี
อาจารย์อธิบายเกี่ยวกับการใช้  application ที่มีอยู่ใน Google ให้เกิดประโยชน์ต่อนักศึกษามากที่สุดนั้นก็คือ Google Calendar ซึ่งก็คือปฏิทินรายการแสดงวันและเวลานั้นเอง อาจารย์ได้อธิบายวิธีการใช้ส่วนประกอบและเครื่องมือต่างๆในหน้าเพจเพื่อให้นักศึกษารู้ถึงวิธีการใช้งานอย่างถูกต้อง และเพื่อแสดงให้เห็นถึงความสำคํญของปฏิทินและตารางการนัดหมายต่างๆ ดังนั้นอาจารย์จึงได้สั่งให้สร้างแผนกำหนดการหรือสร้างปฏิทินส่วนตัว เพื่อบอกกำหนดการต่างๆและแสดงทักษะการใช้เทคโนโลยีจากที่ได้เรียนมา
ที่มาของภาพ : พลกฤษณ์ แสงเมือง, 2556.
หลังจากได้ทำตามที่อาจารย์สอนและแนะนำนั้น ทำให้ได้ปฏิทินส่วนตัวซึ่งสามารถแสดงตารางนัดหมายต่างๆที่ต้องทำและสามรถบอกเตือนความจำได้ด้วย
1.ตารางนัดหมายที่ได้ทำไว้
2.รายละเอียดแสดงวัน เวลา และสิ่งที่ต้องทำในวันนั้น

วิธีเขียนและหลักต่างๆในการเขียนแบบฟอร์มข้อเสนอโครงการวิจัย(ว-1ด)
อาจารย์แนะนำและอธิบายวิธีการเขียนและหลักต่างๆในการเขียนอย่างถูกต้อง เพื่อให้นักศึกษาสามารถมาปรับใช้สำหรับการเขียนแบบฟอร์มข้อเสนอโครงการวิจัย(ว-1ด)ของตัวเองได้ โดยอาจารย์ได้ให้นักศึกษาเข้าไปศึกษา วิเคราะห์ และเรียนรู้จากแบบฟอร์มข้อเสนอโครงการวิจัยของอาจารย์ ซึ่งอาจารย์ได้แชร์ไฟล์ไว้ให้ในไดรฟ์
ที่มาของภาพ : พลกฤษณ์ แสงเมือง, 2556.
1.ชื่อโฟล์เดอร์สำหรับงานที่เกี่ยวข้องกับการเขียนงานวิจัยที่อาจารย์ได้แชร์ไว้ให้
2.ตัวอย่าง รายละเอียด และรูปแบบวิธีนำเสนอที่ใช้ในการเขียนงานวิจัย

วันพุธที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2556

เอกสารงานแปลสรุปข่าวสาร

แปล-สรุปบทความเรื่อง 10 Ways to Speed Up Your Site
เขียนโดย : Sté Kerwer
แปลสรุปโดย : นาย นายพลกฤษณ์ แสงเมือง รหัสนักศึกษา 5011309860 
Contact E-mail : polkritsang@gmail.com
Publish Blog : http://arti3319-polkritsangmuang.blogspot.com/

เนื้อหา
10 Ways to Speed Up Your Site
One sure way to tick of your visitors and have them clicking away before they even see your site is, well, to have a site they can’t see. Or, at least, to have a site that they have to wait to see. The minute a visitor clicks your link, no matter where they find it, you have approximately two to three seconds to grab their attention. If they have to wait longer than that for you site to load then you’ve already lost their attention. Here are 10 ways to speed up your site so you can catch them as soon as they hit the page.


ที่มาของภาพ : http://dukeo.com/10-ways-to-speed-up-your-site/
Resize your images
Most blogs have built-in coding to resize your images. In fact, with most WordPress blogs you can even resize the resized image. (Yes, I know. But it’s true!) Obviously, this makes it easy to upload any image to your site because you can just let the programming do the heavy work.
However, each time the internal code has to take over and resize your images it puts a drain on your CMS and slows down your load time. It might just be a nano-second, but on an image heavy site, all those nano-seconds add up.
Resize your images before you upload them to your blog and shave time off your load time.

Image formats
For faster loading times, save photographs as JPEGs, save your drawings and flat color images as GIFs and save everything as as PNGs.

Convert to CSS
Take a look at the coding on your blog. If it’s been awhile since you changed your design you may have a lot of ugly html code floating around in there. CSS is a much cleaner design, and much more versatile for your design applications. And because it’s clean and streamlined your site will load faster. If you can’t clean up your coding yourself then consult a designer.

Change your Gravatars settings
Even those little Gravatar images can pull down your load time because they’re loaded from external sites. Don’t delete them altogether because you’ll mess up existing comments. Instead, go into your settings and choose “Blank”.

Are you using reliable hosting?
Unless you have a few hundred blogs, web hosting isn’t that expensive and the prices only vary a few cents. If you have to pinch pennies do it somewhere else, but not with your hosting. Choose a reliable host, like HostGator, which has an Intel Xeon 5xxx Series processor for shared hosting. It’s powerful enough to make sure that all websites hosted on the same server operate with the same load times.

Use a quality theme
A lot of those free WordPress themes you see floating around the Web are junk. The code is outdated or worse yet – the code didn’t work to begin with. Choose a quality theme like Thesis or Genesis so you know it has clean code for faster loading times.

Optimize your database
Databases can get cluttered and disorganized which slows down your load times. If you’re using WordPress install a database optimizer like WP Database Optimizer to tidy the place up.

Use Hotlink and Leech protection
If your web hosting company offers Hotlink and Leech protection on your CP, enable both features. This prevents other sites from linking directly to your files or images and stealing your bandwidth.

Manage your plugins
Deactivate and Delete plugins you’re not using. If you have old plugins on your blog, make sure they’re updated or look for more up-to-date plugins. Depending on what you’re using, you might be able to find a new plugin that can take the place of 3 or 4 of those old ones.

Use a Content Delivery Network (CDN)
If you’re delivering lots of images and files consider hosting your content in a cloud. This enables visitors to access your content from a server closer to their location. Instead of traveling half-way around the world to pick up your content, it’s delivered from a server in their own backyard.

สรุปเอกสารงานแปลข่าวสาร
สิ่งหนึ่งที่เราไม่สามารถรู้ได้เลยว่าเว็บไซต์ที่เราต้องการจะเข้าชมนั้นเป็นเว็บไซต์ที่น่าสนใจหรือไม่จนกว่าเราจะได้เข้าไปชมเว็บไซต์นั้นๆ ซึ่งถ้าเราคลิ้กเข้าไปชมเว็บไซต์ใดเว็บไซต์หนึ่งแล้วมันเกิดโหลดช้าหรือต้องใช้เวลานานในการเข้าชม ก็จะทำให้เราไม่สนใจหรือไม่ต้องการเข้าชมเว็บไซต์นั้นอีก ซึ่งเวลาเพียงไม่กี่วินาทีนี้เองจึงเป็นเวลาที่สำคัญสำหรับผู้ที่มีเว็บไซต์อย่างมาก เราจึงมี 10 วิธีที่จะทำให้เว็บไซต์ของคุณมีความเร็วในการโหลดมากขึ้น ดังนี้

1.การปรับขนาดรูปภาพ
บล็อกส่วนใหญ่จะมีการสร้างรหัสเพื่อปรับขนาดของภาพได้ ซึ่งถ้ารูปภาพของคุณมีขนาดไม่มากก็จะง่ายต่อการอัพโหลด และถ้าขนาดของภาพยิ่งมากก็จะทำให้ระบบ CMS(Content Management System)นั้นทำงานหนักมากขึ้น ดังนั้นควรปรับขนาดของภาพก่อนอัพโหลดเพื่อช่วยประหยัดเวลา

2.รูปแบบไฟล์ภาพ

เพื่อช่วยให้การโหลดเร็วขึ้นควรบันทึกรูปภาพเป็นไฟล์ PNGs

3.ปรับแต่งระบบ CSS
ลองเข้าไปดูรหัสในบล้อกของคุณที่เกี่ยวกับการออกแบบ ซึ่งคุณอาจจะเจอรหัส html ที่คุณไม่ต้องการ ซึ่งคุณสามารถใช้ชุดคำสั่ง CSS(Cascading Style Sheets) ออกแบบหรือจัดการกับรหัสพวกนั้นเพื่อให้เว็บไซต์โหลดได้เร็วขึ้น

4.เปลี่ยนการตั้งค่าของ Gravatars
ควรเข้าไปตั้งค่า Gravatar ของคุณให้เป็นว่าง

5.คุณใช้โฮสติ้งที่เชื่อถือได้หรือไม่
เลือกโฮสต์ที่เชื่อถือได้เช่น HostGator ซึ่งมีการประมวลผล Intel Xeon ซีรีส์ 5xxx สำหรับใช้พื้นที่ร่วมกัน ซึ่งจะทำให้มีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะแน่ใจว่าเว็บไซต์ทั้งหมดที่โฮสต์บนเซิร์ฟเวอร์เดียวกันนั้นสามารถทำงานและโหลดในเวลาเดียวกันได้

6.ใช้ชุดรูปแบบที่มีคุณภาพ
การเลือกใช้ชุดรูปแบบ(theme)นั้นก็มีส่วนในการทำให้เว็บไซต์เร็วหรือช้าขึ้น ดังนั้นควรเลือกใช้ชุดรูปแบบ(theme)ที่มีคุณภาพหรือเลือกใช้ชุดรูปแบบ(theme)ที่มีมาตั้งแต่ต้น

7.เพิ่มประสิทธิภาพฐานข้อมูลของคุณ
ในที่นี้จะยกตัวอย่างเช่น หากคุณใช้ WordPress ในการทำเว็บไซต์ คุณควรจะติดตั้งระบบ WP Database Optimizer เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับฐานข้อมูลที่เราใช้ด้วย

8.ใช้ Hotlink และ  Leechในการดูแลเว็บไซต์
หาก Web Hosting ของคุณมีระบบ Hotlink และ Leech คุณควรเลือกเปิดใช้งานคุณลักษณะทั้ง 2 อย่างนี้เพื่อป้องกันการเชื่อมโยงโดยตรงไปยังไฟล์หรือภาพของคุณจากเว็บไซต์อื่นๆ

9.จัดการระบบปลั๊กอินของคุณ
ยกเลิกการใช้งานและลบปลั๊กอินคุณไม่ได้ใช้ หากคุณมีปลั๊กอินเก่าบนบล็อกของคุณ ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้ปรับปรุงแล้วหรือควรมองหาปลั๊กอินที่ดีมากขึ้น

10.ใช้เครือข่ายการจัดส่งเนื้อหา (CDN)
หากคุณมีรูปภาพและไฟล์จำนวนมาก คุณควรเลือกใช้ CDN(Content Delivery Network) เพื่อเก็บข้อมูลหรือเนื้อหาของคุณ ซึ่งจะช่วยในการเข้าถึงเนื้อหาของคุณได้ง่ายขึ้นและช่วยให้ Server ของเราไม่ต้องทำงานหนักด้วย

วันอาทิตย์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2556

ข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัย

จากที่อาจารย์ได้สั่งงานโดยให้นักศึกษาดูตัวอย่างเกี่ยวกับการจัีดแบบฟอร์มใบปะหน้าโครงการวิจัย การเขียนงานวิจัยของนักศึกษาจากสถาบันวิจัยและพัฒนาและให้เข้าไปดาวน์โหลดแบบฟอร์มงานวิจัยที่ http://web.chandra.ac.th/research/
ที่มาของภาพ : พลกฤษณ์ แสงเมือง, 2556.
เพื่อมาใช้เป็นกรณีศึกษาและลองเขียนข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัย ข้าพเจ้าได้ส่งงานในชื่อ "arti3319-3-2555-polkrit-ข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัย" และสามารถเข้าดูงานได้ที่ https://drive.google.com/?tab=Xo&authuser=0#folders/0BwdpUNs1N1FgRnBPcnJPdHNyZnc ตามที่อาจารย์ได้แชร์ไว้
ที่มาของภาพ : พลกฤษณ์ แสงเมือง, 2556.


Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...